“ 8 กระบวนท่าพื้นฐาน งานซ่อมแซมคอนกรีต ” (4)
คอนเทนต์ซีรีย์ “ถูกฝา ถูกตัว” เจาะลึกกลยุทธ์ ซ่อมแซมคอนกรีต เลือกวัสดุและโซลูชั่นที่ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง เป็นการร้อยเรียงเนื้อหาจาก คู่มือการซ่อมแซมโครงสร้างคอนกรีต (Cormix: Concrete Repair Manual) เพื่อนำเสนอวิธีการซ่อมแซม, การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับข้อบกพร่องหรือพฤติกรรมคอนกรีต รวมถึงสอดคล้องกับมาตรฐานสากล (EN Standard) และเป็นการซ่อมแซมอย่างถาวร ให้ความคุ้มค่าในระยะยาว
ใน Ep. 7 ที่ผ่านมาได้พาท่านไปทบทวนกระบวนยุทธพื้นฐานการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยการใช้แบบหล่อและการใช้เครื่องปั๊ม (Form & Pump) และ วิธีการเกรท์ แบบ (Preplaced Aggreagte) สำหรับคอนเทนท์ชุด 8 กระบวนท่าพื้นฐานงานซ๋อมแซมคอนกรีต ก็เดินทางมาถึงตอนสุดท้ายแล้ว สำหรับ Ep. ที่ 8 นี้ จะปิดด้วย 2 กระบวนท่าสุดท้ายของการใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ (Form and cast-in-place) ที่นำเสนอ 2 แบบด้วยกัน คือ ในกระบวนท่าที่ 7 เป็นการใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ สำหรับ เสา ผนัง และขอบพื้น และในกระบวนท่าที่ 8 สำหรับการซ่อมแซมบางส่วนของความหนา (Partial-depth Repair)
“8 กระบวนท่าพื้นฐาน งานซ่อมแซมคอนกรีต”
กระบวนท่าที่ 7 การใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ (Form and cast-in-place) แบบที่ 1 สำหรับเสา ผนัง และ ขอบพื้น
Form and cast-in-place คือ การติดตั้งแบบหล่อ แล้วเทวัสดุซ่อมลงไปในช่องว่างของแบบหล่อที่สร้างขึ้น เป็นวิธีที่ใช้ในการซ่อมแซมพื้นผิวในแนวดิ่ง การเลือกใช้วัสดุซ่อมสำหรับแบบหล่อต้องมีคุณสมบัติในการหดตัวต่ำ (Low Shrinkage) ไหลตัวได้ดี (Flowability) การเทวัสดุซ่อมทำเหมือนกับการเทคอนกรีตทั่วไป การกระทุ้ง Rodding หรือ การเขย่าทำให้เกิดการสั่นสะเทือนด้วยวีธีการแบบดั้งเดิม (Conventional vibration) จะช่วยในการกำจัดฟองอากาศและช่วยให้วัสดุจับตัวกันได้ดี
เคล็ดลับกระบวนท่าที 5: การใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ (Form and cast-in-place) แบบที่ 1 สำหรับเสา ผนัง และ ขอบพื้น ตามภาพที่แสดงด้านล่าง
กฎเหล็กด้านวัสดุ: อาจเลือกเป็นวัสดุซ่อมมอร์ตาร์ที่ทั่วไปหรือวัสุซ่อมที่ทนนความร้อนสูงหรือทนไฟ (Castable) มีค่าการยึดเกาะที่เหมาะสม อัตราการผสมน้ำและซีเมนต์ต่ำ ค่าการหดตัวต่ำ และมีคุณสมบัติการไหลตัวได้ดี
วัสดุคู่กาย การใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ แบบที่ 1 สำหรับเสา ผนังและขอบพื้น
Conpatch MC:
Method 3.2 Recasting with concrete or mortar
คอนแพทช์ เอ็มซี ปูนนอนชริ้งค์ เกราท์ ชนิดพิเศษ ทนต่อคลอไรดและคาร์บอนไดออกไซด์ ไหลตัวได้ดี ให้การยึดเกาะดีเยี่ยม และไม่หดตัว เหมาะสำหรับงานซ่อมแซมคอนกรีตที่มีการใช้แบบหล่อและเครื่องปั๊ม และการเทซ่อม ในพื้นที่โครงสร้างทางทะเล, ชายฝั่ง หรือ สะพาน
EN1504 part 9
Principle 3: Concrete restoration (CR)
Method 3.2 Recasting with concrete or mortar
Principle 7: Preserving or restoring passivity (RP)
Method 7.1 Increasing cover to reinforcement with additional concrete or mortar
Method 7.2 Replacing contaminated or carbonatated concrete
Condur EA2 :
คอนดัวร์ อีเอ2 อีพ็อกซี่ 2 ส่วนผสมสำหรับยึดเกาะ สำหรับคอนกรีตที่มีความเปียกชื้น ปราศจากตัวทำละลาย (Solvent Free)
EN1504 Part 9 and EN1504 Part 3 and Part 4
Principle 3: Concrete Restoration (CR).
Method 3.4 Replacing Elements.
Principle 4 : Structural Strengthening. (SS)
Method 4.4 Adding Mortar or Concrete.
Principle 5: Increase in Physical Resistance (PR).
Method 5.3 Adding Mortar or Concrete.
Elastoclad :
อีลาสโตแคลด วัสดุเคลือบผิวเพื่อปกป้องคอนกรีต ผสมสารยั้บยั้งกระบวนการคาร์บอเนชั่น
(Anti Carbonation) ที่เป็นสาเหตุให้คอนกรีตเสื่อมสภาพ
EN 1504 PART 9 – Principles & Methods Related to defect in concrete
Principle 1 Protection against ingress (PI)
Method 1.3 –Surface coating.
Method 1.8 –Application of membranes.
Principle 2 Moisture control (MC)
Method 2.3 –Surface coating.
Principle 8 Increasing Resistivity (IR).
Method 8.3 –Overlays or coatings.
กระบวนท่าที่ 8 – การใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ (Form and cast-in-place) แบบที่ 2 สำหรับการซ่อมแซมบางส่วนของความหนา (Partial-depth Repair) คือ การซ่อมแซมความเสียหายของผิวคอนกรีตเนื่องจากเกิดการแตกกระเทาะของคอนกรีตโดยจะซ่อมแซมคอนกรีตที่เสียหายลึกไม่เกิน 1 ใน 3 ของความหนาของแผ่นคอนกรีต
เคล็ดลับกระบวนท่าที่ 8: เมื่อมีการเสื่อมสภาพของคอนกรีตมีพื้นที่มาก,พื้นที่วงกว้าง ที่ต้องการความหนา
กฏเหล็กด้านวัสดุ: ควรเลือกใช้วัสดุที่มีค่าการหดตัวต่ำ, ปริมาณน้ำต่อซีเมนต์ต่ำ และวัสดุสามารถไหลตัวได้ดีและอัดแน่นเข้าไปยังทุกมุมของแบบหล่อ
วัสดุคู่กาย การใช้แบบหล่อและการหล่อในที่ แบบที่ 2 สำหรับการซ่อมแซมบางส่วนของความหนา (Partial-depth Repair)
Congrout RES:
คอนเกรท์ อาร์อีเอส ปูนนอนชริ้งค์ เกราท์ ชนิดพิเศษ ให้กำลังอัดสูง
ภายใน 2 ชั่วโมง – 4 ชั่วโมง
(2 ชั่วโมงให้กำลังอัดที่ 25-30 N/mm2)
(4 ชั่งโมงให้กำลังอัดที่ 35 N/mm2)
สำหรับงานที่ต้องการความรวดเร็วที่แข่งกับเวลา
สามารถถอดแบบได้เร็วกว่าปกติ
EN1504 part 9
Principle 3: Concrete Restoration (CR).
Method 3.2 Recasting with concrete or mortar
Principle 5: Increase in physical resistance (PR)
Method 5.3 Adding mortar or concrete
Principle 7: Preserving or restoring passivity (RP)
Method 7.1 Increasing cover to reinforcement with additional concrete or mortar
Method 7.2 Replacing Contaminated or carbonated concrete
Conpatch MC :
คอนแพทช์ เอ็มซี ปูนนอนชริ้งค์ เกราท์ ชนิดพิเศษ ทนต่อคลอไรด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ไหลตัวได้ดี ให้การยึดเกาะดีเยี่ยม และไม่หดตัว เหมาะสำหรับงานซ่อมแซมคอนกรีตที่มีการใช้แบบหล่อและเครื่องปั๊ม และการเทซ่อม ในพื้นที่โครงสร้างทางทะเล, ชายฝั่ง หรือ สะพาน
EN1504 part 9
Principle 3: Concrete restoration (CR)
Method 3.2 Recasting with concrete or mortar
Principle 7: Preserving or restoring passivity (RP)
Method 7.1 Increasing cover to reinforcement with additional concrete or mortar
8 กระบวนท่าพื้นฐานงานซ่อมแซมคอนกรีต ในคอนเทนท์นี้เป็นตอนสุดท้ายแล้ว คอนเทนท์หน้าจะนำเสนอในประเด็นของการซ่อมรอยร้าว โดยจะพาท่านไปเจาะลึกรอยร้าวประเภทต่างๆ, สาเหตุของการเกิดรอยร้าว, แนวทางในการซ่อมแซมรอยร้าว รวมถึงการเลือกใช้วัสุดซ่อมรอยร้าว
คอร์มิกซ์ ยินดีให้คำปรึกษางานซ่อมแซมคอนกรีตด้วยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้คุณสบายใจทั้งผู้รับเหมาและเจ้าของโครงการ
อ่านบทความอื่น : | ตีแตกปัญหารอยร้าว Ep2 |ตีแตกปัญหารอยร้าว Ep1 | การซ่อมแซมและปกป้องเหล็กเสริม โครงสร้างชายฝั่งทะเล | ซ่อมแซมโครงสร้างทั้งที ต้องให้ดีกว่าสร้างใหม่ | ถูกฝา ถูกตัว Ep 1 | ถูกฝา ถูกตัว Ep2 | ถูกฝา ถูกตัว Ep3 | ถูกฝา ถูกตัว Ep4 | ถูกฝา ถูกตัว Ep5 | ถูกฝา ถูกตัว Ep6 | ถูกฝา ถูกตัว Ep7 | ถูกฝา ถูกตัว Ep8 | เลือกวัสดุดีมีชัยไปกว่าครึ่ง | เลือกวัสดุผิด..ชีวิตเปลี่ยน | ยืนหนึ่ง ซีเมนต์กันซึมตกผลึก (คริสตัลไลน์ ) | 11 จุดเด่นของระบบกันซึม คริสตัลไลน์ | บทความน่าสน